วันศุกร์ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

ผู้จัดทำ

คณะผู้จัดทำ


นางสาวกรกนก  คาดสนิท ชื่อเล่น จ๊ะ
รหัสนักศึกษา 2531031441103



นางสาวปริชาติ  สุวรรณชาตรี ชื่อเล่น ครีม
รหัสนักศึกษา 2561031441111



นายยศสกล  ลิขิตธีระกุล ชื่อเล่น ยอด
รหัสนักศึกษา 2561031441143

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล

การปรับโครงสร้างเข้าหากัน

การปรับโครงสร้างเข้าหากัน
จากการศึกษาโครงสร้างของระบบพบว่ามีโครงสร้างฐานข้อมูลที่ซ้ำกันอยู่ 3 Table
1.       ตาราง u_stock ของระบบคลังสินค้า
3.       ตาราง USER ของระบบบัญชี
การปรับระบบเข้าหากันจึงใช้วิธีการปรับตาราง ทั้ง 3 ตารางเป็น ตารางที่มีความละเอียดและตรงตามการใช้งานของระบบ







โครงสร้างของตาราง User ของแต่ละระบบมีรายละเอียดดังนี้

เมื่อปรับโครงสร้างใหม่ได้ดังนี้





ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มข้อมูล User ใหม่
เมื่อมีการเพิ่มข้อมูล User ใหม่ ระบบจะต้องมีการอัพเดตข้อมูลไปยัง ตาราง u_stock ของระบบคลังสินค้า  ตาราง USER ของ ระบบบัญชี

 




พบว่ามี ตาราง Product ซ้ำ กัน 2 ตาราง คือ 1.ตาราง Product ของระบบคลังสินค้า 2.ตาราง Product ของระบบการขาย  
                        




ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มข้อมูล Product ใหม่ จากระบบคลังสินค้า  ก็จะเพิ่มข้อมูลไปที่ Product  ของระบบการขายด้วย



แนวทางการต่อยอดหรือพัฒนาต่อในอนาคต
- เก็บรวบรวมข้อมูลการใช้งานเพื่อหาข้อผิดพลาด
- ลดกระบวนการทำงานหรือส่วนที่ไม่จำเป็น เพี่อให้ระบบทำงานได้รวดเร็วขึ้น
- พัฒนาต่อยอดอย่างสม่ำเสมอจะทำให้ระบบทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและลดค่าใช้จ่ายในการสร้าง
   ระบบใหม่อีกครั้ง
- มีการปรับปรุงหรือพัฒนาระบบเพื่อลดการสูญหายของข้อมูล
- นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนาระบบ
- อบรมให้ความรู้แก่พนักงาน


ระบบคลังสินค้า


ขั้นตอนที่1 
การค้นหาและเลือกสรรโครงการ
แผนกคลังสินค้า
                มีหน้าที่   รับผิดชอบดำเนินการเรื่องสินค้าต่างการจัดเก็บสินค่างสินค้า
 ปัญหาในแผนกคลังสินค้า
                1.เอกสารมีจำนวนมากทำให้จัดเก็บไม่เป็นระเบียบและเสี่ยงต่อการสูญหายได้ง่าย
                2. การค้นเอกสารระหว่างการทำงานหรือค้นหาย้อนหลังทำได้ยาก เนื่องจากเอกสารมากทำให้เสียเวลา
                3. เวลามีสินค้าเข้าใหม่ จดบันทึกได้ยาก
                4. การตรวจสอบทำได้ยาก เนื่องจากเอกาสารมีมาก
                5. เสี่ยงต่อการปลอมแปลงเอกสารง่าย
                6. หากมีการทำรายการผิดพลาดจะก่อให้เกิดความเสียหาย

วัตถุประสงค์
                เพื่อจัดทำระบบงานด้านคลังสินค้าให้มีความสะดวกต่อผู้ใช้ระบบ และพัฒนาการจัดการระบบงานคลังให้มีประสิทธิจากเดิมที่เคยมีปัญหาในด้านต่างๆ

การเสนอแนวทางเลือก ในการนำระบบพัฒนาระบบงานบัญชีมาใช้งาน
หลังจากที่ได้วิเคราะห์ระบบเดิมและพบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นคือทำให้การขายสินค้าและประชาสัมพันธ์นั้นลำบาก อีกทั้งมีปัญหาในเรื่องของการเบิกจ่ายและการสั่งซื้ออาจทำให้เกิดความซับซ้อนของข้อมูล ทำให้การขายสินค้าลดน้อยลงเพื่อลดปัญหาต่างๆลง ได้มีการเสนอโครงการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นทางทีมงานได้รวมรวบข้อมูลจากผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องและนำเสนอผู้บริหารจากนั้นจึงได้จำลองขั้นตอนการทำงานของระบบใหม่นำเสนอให้ผู้บริหารและผู้ใช้ระบบเพื่อตรวจสอบความถูกต้องและนำมาแก้ไขให้ตรงตามความต้องการ โดยมีแนวทางเลือกใน
ทางเลือกที่ 1 การจัดซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Packaged Software)
ทางเลือกที่ 2 ว่าจ้างบริษัทจากภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ (Outsourcing)
ทางเลือกที่ 3 ใช้ทีมงานเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ (In-House Development)






สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกที่ 1
                ทางทีมงานได้ทำการประเมินผลแนวทางเลือกซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม โดยกำหนดเกณฑ์การให้น้ำหนัก (คะแนน) เชิงปริมาณเปรียบเทียบไว้เป็น 4 ระดับ ดังนี้
                น้ำหนักเท่ากับ 4 ช่วงคะแนน 100-90 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดีมาก
                น้ำหนักเท่ากับ 3 ช่วงคะแนน 89-70 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดี
                น้ำหนักเท่ากับ 2 ช่วงคะแนน 69-50 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ พอใช้
                น้ำหนักเท่ากับ 1 ช่วงคะแนน 49-30 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ปรับปรุง
เกณฑ์ที่ได้ พอใช้
น้ำหนักเท่ากับ 1 ช่วงคะแนน 69-50 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ พอใช้


สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกที่ 1
       สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกและคัดเลือกซื้อ Software  B มาใช้งาน เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด
ทางเลือกที่ 2 : ว่าจ้างบริษัทภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ มีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้




การประเมินแนวทางเลือกที่ 2
                ทางทีมงานได้ทำการประเมินผลแนวทางเลือกซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม โดยกำหนดเกณฑ์การให้น้ำหนัก (คะแนน) เชิงปริมาณเปรียบเทียบไว้เป็น 4 ระดับ ดังนี้
                น้ำหนักเท่ากับ 4 ช่วงคะแนน 100-90 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดีมาก
                น้ำหนักเท่ากับ 3 ช่วงคะแนน 89-70 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ดี
                น้ำหนักเท่ากับ 2 ช่วงคะแนน 69-50 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ พอใช้
                น้ำหนักเท่ากับ 1 ช่วงคะแนน 49-30 เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์ที่ได้ ปรับปรุง

สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกที่ 2
        สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกและคัดเลือกว่าจ้างบริษัทติดตั้งระบบ B มาใช้งาน เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด
แนวทางเลือกที่ 3: ใช้ทีมงานเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ มีรายละเอียดเพิ่มเติมดังตารางต่อไปนี้




การประเมินแนวทางเลือกที่ 3 ไม่มี ในที่นี้ไม่มีข้อเปรียบเทียบ
สรุปผลการประเมินแนวทางเลือกที่ 3
         ทางทีมงานพิจารณาแล้วว่า มีขีดความสามารถที่จะพัฒนาระบบได้ตามข้อกำหนดคุณสมบัติทางเทคนิคและความต้องการของผู้ใช้งานตามที่จัดทำ โดยใช้ระยะเวลาดำเนินการจำนวนทั้งสิ้น 6 เดือน และมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานจำนวนเงินทั้งสิ้น 300,000 บาท (ค่าเงินเดือน ค่าอุปกรณ์ ค่าล่วงเวลา ค่าเบ็ดเตล็ด และค่าสำ รองฉุกเฉิน เป็นต้น)

เปรียบเทียบแนวทางเลือกทั้งสาม
        ผลจากการพิจารณาแนวทางเลือกของทีมงานจากทั้งสามแนวทาง จะนำ เสนอเข้าสู่การพิจารณาของคณะผู้บริหารเพื่อพิจารณา เลือกแนวทางตามที่ได้นำ เสนอจากทีมงานพัฒนา พร้อมข้อเสนอแนะในแต่ละแนวทางเลือกหลักทั้งสาม โดยมีรายละเอียดดังนี้



ผู้บริหารเลือกแนวทางที่ดีที่สุด
หลังจากหัวหน้าทีมงานได้เสนอแนวทางเลือก โดยจัดทำข้อมูลเปรียบเทียบและข้อเสนอแนะแก่ทีมผู้บริหาร โดยใช้กฎเกณฑ์การให้น้ำหนัก (คะแนน) ดังตารางต่อไปนี้

 สรุปผลการประเมินโดยทีมงานผู้บริหาร
ทางทีมงานผู้บริหารได้พิจารณาตัดสินใจเลือกแนวทางใช้ทีมงานเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ (In-House Development) เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด นอกจากจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานและความคุ้มค่าในการลงทุนแล้ว ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีของพนักงานภายในบริษัท พร้อมทั้งได้กำหนดมาตรการและมอบหมายแก่ผู้บังคับบัญชาโดยตรง คอยควบคุมดูแลทีมงานพัฒนาให้ดำเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้


ขั้นตอนที่ 2
การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ 

เป้าหมาย
นำระบบสาระสนเทศเพื่อการพัฒนาระบบการตลาด การประชาสัมพันธ์และระบบบุคคลของบริษัทเพื่อสร้างรายได้แก่บริษัทและความพึงพอใจของลูกค้า

วัตถุประสงค์
โครงการการพัฒนาระบบการตลาด การประชาสัมพันธ์และระบบบุคคลของบริษัท มีวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานเพื่อวิเคราะห์  ออกแบบ  และพัฒนาให้เป็นระบบงานตลาดและการประชาสัมพันธ์ที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้  ได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ

ขอบเขตของระบบ
โครงการพัฒนาระบบการการพัฒนาระบบคลังสินค้าได้มีการจัดทำขึ้นโดยการว่าจ้างบริษัท B มารับผิดชอบโครงการ พร้อมกันนี้ได้กำหนดขอบเขตของระบบนี้มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
                ระบบต้องมีการวางแผนการตลาด
                ระบบต้องทำงานได้เร็วและสะดวก
                ระบบต้องมีการประชาสัมพันธ์ที่ดึงดูดลูกค้า
                ระบบมีการผิดพลาดที่น้อยที่สุด
                ระบบต้องมีความถูกต้องและแม่นยำได้
ปัญหาที่พบจากระบบเดิม
               1.เอกสารมีจำนวนมากทำให้จัดเก็บไม่เป็นระเบียบและเสี่ยงต่อการสูญหายได้ง่าย
                2. การค้นเอกสารระหว่างการทำงานหรือค้นหาย้อนหลังทำได้ยาก เนื่องจากเอกสารมากทำให้เสียเวลา
                3. เวลามีสินค้าเข้าใหม่ จดบันทึกได้ยาก
                4. การตรวจสอบทำได้ยาก เนื่องจากเอกาสารมีมาก
                5. เสี่ยงต่อการปลอมแปลงเอกสารง่าย
                6. หากมีการทำรายการผิดพลาดจะก่อให้เกิดความเสียหาย
แนวทางในการพัฒนา
     การพัฒนาระบบของบริษัท Oishi เป็นการพัฒนาระบบในส่วนของ ของระบบกาตลาดและระบบบุคคล ประชาสัมพันธ์ ในส่วนของระบบการตลาดในบริษัทเพื่อเพิ่มรายได้ของบริษัท สร้างภาพพจน์ที่ดีขึ้น ตามความต้องการในระบบใหม่ที่ทีมงานได้รวบรวมจากผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องดังกล่าว และผ่านการอนุมัติให้ดำเนินโครงการแล้วจากนั้นจึงได้จำ ลองขั้นตอนการทำ งานของระบบใหม่นำเสนอให้ผู้บริหารและผู้ใช้ระบบเพื่อตรวจสอบความถูกต้องและนำ มาแก้ไขให้ตรงตามความต้องการ
1.   การค้นหาและเลือกสรรโครงการ
2.   การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
3.   การวิเคราะห์ระบบ
4.   การออกแบบเชิงตรรกะ
5.   การออกแบบเชิงกายภาพ
6.   การพัฒนาและติดตั้งระบบ
7.   การประชาสัมพันธ์

1. ทีมงานรับผิดชอบโครงการ
 ทีมงานผู้รับผิดชอบโครงการที่จะได้รับมอบหมาย คือ บุคลากรแผนกการตลาดทั้งคนจะดำรงตำแหน่งหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ดังต่อไปนี้
พนักงานการตลาด   มีหน้าที่ ตรวจสอบการเคลื่อนไหวการตลาด เก็บรวบรวมข้อมูลการส่งออกสินค้าให้แก่ลูกค้าและติดต่อประสานงานแก่ด้านอื่นๆ
บุคลากรการคลังสินค้า มีหน้าที่ ตรวจสอบความถูกต้องของสินค้าที่จะส่งออกไปจำหน่ายแก่ลูกค้าเพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาด
ประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่ ประชาสัมพันธ์ บอกรายละเอียดคุณสมบัติแก่ลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าเกิดความเชื่อถือในการซื้อสินค้าของบริษัท
2. ประมาณการใช้แหล่งทรัพยากร
ปัจจุบันทางบริษัทใช้ระบบเครือข่าย LAN อยู่แล้วมีรายละเอียดต่อไปนี้
1.เครื่องแม่ข่าย server จำนวน 1 เครื่อง
2.เครื่องลูกข่าย (Workstation) จำนวนเครื่อง
3.เครื่องพิมพ์ (Printer) 3 เครื่อง


สรุปแล้วงบประมาณที่ใช้พอสรุปในของแต่ละฝ่ายได้ดังนี้

1.  ผู้จัดการ
ค่าตอบแทนสำหรับทีมงานพัฒนา
พนักงานการตลาด บุคลากรคลังสินค้าและประชาสัมพันธ์                      400000
2.พนักงาน
ฝึกอบรมพนักงานและผู้บริหาร 10 คน                                                           20000
วันฝึกอบรมผู้ดูแลระบบ                                                                                       2000
3.จัดชื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์:
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้เป็นworkstation                                                         80000           
อื่นๆ                                                                                                                       18000
4.ค่าใช้จ่ายระหว่างดำเนินงาน
ค่าบำรุงระบบ                                                                                                      25000
จัดชื่อเก็บข้อมูลสำรอง
                                                                                       15000
รวม                                                                                                               740000
ประมาณการระยะเวลาดำเนินงาน
ระยะเวลาการดำเนินงานของโครงการส่งเสริมการขาย จะใช้เวลาประมาณ 3 เดือนจากเดือนสิงหาคม 2555 ถึงเดือนตุลาคม 2555 เป็นระยะเวลาในการดำเนินงานของการพัฒนาระบบของบริษัท

ระยะเวลาดำเนินงาน 

- จำนวนวันที่ทีมงานต้องดำเนินงานไม่รวมวันหยุด อาทิตย์ละ6 วัน
-
 จำนวนชั่วโมงจริงในการทำงานในแต่ละวัน หรือส่วนหนึ่งของการประมาณระยะเวลาที่กำหนดไว้ นั่นคือ 8 ชั่วโมงต่อวัน ไม่รวมช่วงพักเที่ยง

รายงานสรุปผลสำหรับผู้บริหาร 

จากการที่ได้ศึกษาโครงการส่งเสริมการขายปัญหาที่พบในระบบ ซึ่งอาจจะส่งผลต่อการปฏิบัติงานของบริษัท พนักงาน และอาจจะส่งผลต่อลูกค้า เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน ในด้านการบริการ และทางระบบสารสนเทศ ทางบริษัทจึงต้องจัดทำแผนพัฒนาระบบใหม่ขึ้น เพื่อที่จะนำไปพัฒนาระบบบริษัทเครื่องดื่มต่างๆ
ทั้งนี้ทางทีมงานจึงได้พัฒนาระบบ และได้ศึกษาความเป็นไปได้ทั้ง
 3 ด้านของระบบนี้ประกอบด้วย ความเป็นไปได้ทางการตลาด ความเป็นไปได้ทางการปฏิบัติงาน และความเป็นไปได้ทางด้านระยการดำเนินงาน จะเป็นข้อมูลไว้ช่วยสนับสนุนโดยนำมาใช้งานดังต่อไปนี้

 1. ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค ทำการศึกษาทั้งทางด้าน Hardware และ Softwareของระบบเดิม ปรากฏว่าใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อบนเครือข่ายแบบ LAN Application ที่ใช้ได้แก่

- Microsoft Excel
- Microsoft Word
โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องานคลังสินค้า
2. ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติงาน ทำการศึกษาทางด้านการปฏิบัติงานของผู้ใช้กับระบบใหม่ที่จะนำมาใช้ จากการสอบถามข้อมูลพบว่า ระบบใหม่มีความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับการบริหารงานบุคคลที่มีอยู่เดิม ทั้งยังสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ซึ่งช่วยลดปัญหาการนำข้อมูลที่ไม่ถูกต้องไปใช้งานได้ และลดขั้นตอนการทำงานที่ซ้ำซ้อนลงได้
3. ความเป็นไปได้ทางด้านระยะเวลา ระยะเวลาในการดำเนินงานของโครงการพัฒนาระบบ ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 3 เดือน ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2555 ถึง เดือนตุลาคม 2555 ในการดำเนินงานพัฒนาระบบของบริษัท



ขั้นตอนที่ 3
การกำหนดความต้องการของระบบ

การกำหนดความต้องการของระบบ

เมื่อโครงการพัฒนาระบบการตลาด ได้รับการอนุมัติจากการนำเสนอโครงการในขั้นตอนที่ผ่านมา ดั้งนั้นจึงเริ่มต้นด้วยความการเก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากระบบเดิม ในการกำหนดความต้องการครั้งนี้ ทีมงานเลือกใช้วิธีการออกแบบสอบถาม (Questionnaire)

-  ออกแบบสอบถาม (Questionnaire)

บุคคลผู้ตอบแบบสอบถามคือ “พนักงานการตลาด” การใช้แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลในส่วนที่ต้องการพัฒนา เนื่องจากทีมงานสามารถควบคุมหัวข้อคำถามที่ต้องการรายละเอียดได้มากกว่าการสัมภาษณ์ ไม่ต้องมีกาจดบันทึก ไม่รบกวนเวลาทำงานของพนักงานการตลาดมากนัก สามารถเก็บข้อมูลได้มากตามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม อีกทั้งผู้ตอบแบบสอบถามจะรู้สึกมีอิสระในการให้ข้อมูล

ข้อมูลและเอกสารของระบบงานเดิมที่รวบรวมได้ 
จากการที่ทีมงานได้เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบเดิม ด้วยวิธีการออกแบบสอบถาม สามารถสรุปข้อมูลที่ได้รับดังนี้

1. ข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของระบบเดิม

2. ความต้องการในระบบใหม่

3. ตัวอย่างเอกสาร แบบฟอร์ม และรายงานของระบบเดิม

1. ข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของระบบเดิม 
ทางบริษัทใช้ระบบเครือข่าย LANประกอบด้วย1.1 เครื่องแม่ข่าย จำนวน 1 เครื่อง ใช้ซอฟต์แวร์เครือข่าย Windows Server 2007
1.2 เครื่องลูกข่าย จำนวน 10 เครื่อง ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows XP
และซอฟต์แวร์สำหรับงานสำนักงาน Microsoft Office 2007
ฝ่ายการขายใช้ซอฟต์แวร์ Microsoft Excel ในการคำนวณยอดขายสินค้าของแต่ละวัน
ฝ่ายคลังสินค้าใช้ซอฟต์แวร์สำเร็จรูประบบคลังสินค้า
1.3 อุปกรณ์ต่อพ่วง ได้แก่ เครื่องพิมพ์เลเซอร์จำนวน 3 เครื่อง
2. ความต้องการในระบบใหม่ 
2.1 คำนวณจำนวนสินค้าอัตโนมัติ
2.2 สามารถแจ้งเตือนเมื่อมีการขาดส่งสินค้าเกินกำหนดได้อัตโนมัติ
2.3 สามารถคำนวณสินค้าทั้งหมดที่ส่งแล้ว
2.4 สามารถค้นหาข้อมูลของลูกค้าได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
3. ความต้องการของระบบใหม่ของผู้ใช้ 
จากการรวบรวมความต้องการของระบบใหม่ทำให้ทีมงานได้ข้อมูลเพิ่มเติม จังได้นำมาวิเคราะห์หาขั้นตอนการทำงานของระบบใหม่ตามความต้องการดังนี้
1. สามารถเรียกดูข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น
2. สามารถแก้ไข ปรับปรุงข้อมูลได้โดยสะดวก
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
4. การจัดทำรายงานมีความสะดวกรวดเร็วขึ้น
5. พนักงานทุกฝ่ายสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
เพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการดังกล่าว สามารถแบ่งการทำงานออกเป็น 3 ระบบดังนี้
1. ระบบการส่งเสริมการตลาด จะสร้างความเชื่อมั่น และกระตุ้นการตลาด มุ่งสู่ผู้บริโภค และเป็นการสนับสนุนให้เกิดแรงจูงใจในการซื้อสินค้ากับทางบริษัท
2. ระบบบุคคล เป็นระบบที่ทำการตรวจเช็คสินค้าให้เพียงพอแก่การส่งออกในท้องตลาด
3. ระบบประชาสัมพันธ์ เป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับการประชาสัมพันธ์สินค้า รวมทั้งการบอกรายละเอียด คุณสมบัติ ของสินค้า เพื่อให้ลูกค้าเกิดความมั่นใจ พอใจ ในการซื้อสินค้านั้นๆ



ขั้นตอนที่ 4
แบบจำลองขั้นตอนการทำงานของระบบ
            จาการวิเคราะห์ความต้องการระบบใหม่ที่รวบรวมมาได้จากผู้ใช้ระบบ โดยสามารถจำลองได้ด้วยแผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) ดังนี้





อธิบาย Context  Diagram
Context Diagram ระบบบัญชี เป็นระบบการทำงานจัดการรายได้และรายจ่ายของบริษัทรวมถึงการจัดสรรเงินงบประมาณให้กับแผนกต่างๆ มีผู้ใช้ระบบคือหัวหน้าบัญชีกับพนักงานบัญชี ซึ่งมีสิทธ์และหน้าที่การใช้งานดังนี้
หัวหน้าบัญชี
               -   เข้าระบบได้ เป็นผู้เพิ่ม/ลบ/
                        -   เรียกดูข้อมูลสินค้า ทั้งในปัจจุบันและย้อนหลังได้ พร้อมสั่งพิมพ์รายงานได้
-      สามารถดูการสั่งซื้อสินค้าของลูกค้าได้


พนักงานบัญชี
               -   เข้าระบบได้ สามารถเพิ่ม/ลบ/แก้ไข ข้อมูล
               -   เรียกดูข้อมูลสินค้า ทั้งในปัจจุบันและย้อนหลังได้ พร้อมสั่งพิมพ์รายงานได้
อธิบาย Dataflow Diagram Level 0
Process 1.0 ระบบ Log-in
            ผู้ใช้ระบบจะต้องทำการล็อกอินเพื่อเข้าไปใช้ระบบ ระบบจะทำการตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในแฟ้มข้อมูล D1 ถ้าข้อมูลถูกต้องก็จะสามารถเข้าใช้ระบบได้ แต่ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องระบบจะแจ้งกลับไปยังผู้ใช้
Process 2.0 ระบบการสั่งซื้อ
            หัวหน้าแผนกคลังสินค้าสามารถเข้าไประบบเพื่อไปดูข้อมูลที่ลูกค้าสั่งซื้อได้
Process 3.0 ระบบสินค้า
            พนักงานสามารถเรียกดูข้อมูลสินค้าได้
Process 4.0  ระบบพิมพ์รายงาน
            สามารถพิมพ์รายงานข้อมูลสินค้าได้







รายการ
 
พิมพ์รายการ
 
รายงานสินค้า
 

3.0
 
4.0
 
ยืนยันการเข้าระบบ
 
Loginเข้าระบบ
 


2.0
 




พนักงานแผนกคลัง
 
                                                                

 


อธิบาย Dataflow Diagram Level 1
















Process 1.1 ระบบ Log-in
            ผู้ใช้ระบบจะต้องทำการล็อกอินเพื่อเข้าไปใช้ระบบ ระบบจะทำการตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในแฟ้มข้อมูล D2 ถ้าข้อมูลถูกต้องก็จะสามารถเข้าใช้ระบบได้ แต่ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องระบบจะแจ้งกลับไปยังผู้ใช้
Process 2.1 ระบบสังซื้อสินค้า
            หัวหน้าแผนกสามารถเข้าไปดูว่าลูกค้าสั่งซื้อะไรบ้าง
 Process 3.1 ระบบสินค้า
            สามารถดูข้อมูลสินค้าที่ยังมิยู่ในคลังเพื่อทำการสั่งซื้อ















 
Process 1.2 ระบบ Log-in
            ผู้ใช้ระบบจะต้องทำการล็อกอินเพื่อเข้าไปใช้ระบบ ระบบจะทำการตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่ในแฟ้มข้อมูล D4 ถ้าข้อมูลถูกต้องก็จะสามารถเข้าใช้ระบบได้ แต่ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องระบบจะแจ้งกลับไปยังผู้ใช้
Process 2.2 ระบบสินค้า
            สามารถดูข้อมูลสินค้าที่ยังมิยู่ในคลังเพื่อเช็คสินค้า ว่าเม่าไร วันที่ วันหมดอายุ จำนวนสินค้า รยการสินค้า



ขั้นตอนที่5
การออกแบบ User Interface



หน้า log in ผู้เข้าใช้งานจะต้องกรอก username และ passwordเพื่อ log in เข้าสู่ระบบก่อนทุกครั้งจึงจะสามารถทำงานในระบบได้



ระบบสั่งซื้อ
เรียกดูรายการสินค้าที่ลูกค้าสั่งซื้อ
ระบบรายจ่าย -นำเอารายรับที่ได้ มาคำนวณ รายรับทั้งหมด


ระบบสินค้า
เช็คสินค้าที่มีอยู่ในคลัง ดูประเภทสินค้า อายุผลิตภัณท์ จำนวน สามารถพิ่มลบแก้ไข ข้อมูลได้




ขั้นตอนที่ 6
การพัฒนาและติดตั้งระบบระบบ
                ทีมงานได้จัดทำ คู่มือและเอกสารการใช้โปรแกรมของระบบตรวจเช็คสินค้าเพื่อให้ผู้ใช้ระบบสามารถเข้าใจการทำงานของโปรแกรมได้มากยิงขึ้น โดยมีรายละเอียดดังนี้
                1 ระบบลอกอิน เป็นระบบที่สามารถเข้าสู่ระบบเพื่อ เข้าไปเพิ่มลบแก้ไขข้อมูลได้
              2 ระบบสั่งซื้อ เปนการจัดการการสั่งซื้อสินค้าขอลลูกค้า
               3 ระบบสินค้า  เป็นการจัดการรายการสินค้าที่มีอยู่ในคลัง

ขั้นตอนที่ 7
การซ่อมบำรุง

                การซ่อมบำรุงนั้นจะขึ้นอยู่กับผู้พัฒนาระบบว่าระบบนั้นมีปัญหาอะไรบ้างจะอยู่ในความดูแลของผู้พัฒนาระบบมีการดูแลระบบอย่างต่อเนื่อง  ผู้พัฒนาระบบจะค่อยอัพเดตซอฟต์แวร์ใหม่ๆที่ทันสมัยเพื่อให้โปรแกรมใช้ง่ายขึ้นกว่าเดิมและเพิ่มประสิทธิภาพ  หากมีปัญหาเกิดขึ้นผู้พัฒนาระบบจะทำการซ่อมแซมระบบอย่างรวดเร็ว